ภาควิชาสังคมและสุขภาพ
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (พิเศษ) |
ชื่อปริญญา | ศศ.ม. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) |
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์ (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
(หลักสูตรภาคปกติ และภาคพิเศษ) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภาควิชาสังคมและสุขภาพ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ภาษาอังกฤษ: Master of Arts Program in Medical and Public Health SocialSciences ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) ชื่อย่อ : ศศ.ม. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Arts (Medical and Public Health Social Sciences) ชื่อย่อ : M.A. (Medical and Public Health Social Sciences) ๓. วิชาเอก : ไม่มี ๔. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๕. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ๕.๑ นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๒ นักวิจัยด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๓ ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรของรัฐและเอกชนด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๔ นักประเมินผลด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๖. จุดเด่นของหลักสูตร เป็นหลักสูตรสหวิทยาการที่นำองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์เน้นหนักทางด้านสังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ นโยบาย และกฎหมาย เป็นต้น มาประยุกต์ใช้อธิบายสาเหตุและป้องกันสภาวะการเจ็บป่วย การบำรุงรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ และระบบสุขภาพ เป็นหลักสูตรทีมีความร่วมมือและมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติที่จะเสริมสร้างประสบการณ์และความรู้ให้กับนักศึกษา เพื่อให้มีคุณสมบัติระดับเดียวกับผู้ที่จบจากต่างประเทศ ทั้งมีโครงการพานักศึกษาไปดูงานภายในและต่างประเทศทุกปี และมีโครงการสนับสนุนนักศึกษาไปศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือและนำเสนอผลงานวิจัยในต่างประเทศ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ๑. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑.๑ ปรัชญา ความสำคัญ ของหลักสูตร มุ่งผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ทางทฤษฎี และการวิจัย ทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้มหาบัณฑิตมีทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในการทำงานด้านสุขภาพอย่างบูรณาการ สร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ ๑.๒ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนมหาบัณฑิตตามหลักสูตรแล้ว มหาบัณฑิตมีความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรม ดังนี้ (๑) ประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณที่ดีทางวิชาการและวิชาชีพด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (๒) มีความรู้ในหลักวิชาการทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข แสวงหาวิธีการพัฒนาด้านสุขภาพได้อย่างเหมาะสม (๓) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินปัญหาสุขภาพที่เกิดจากสถานการณ์การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน และสามารถดำเนินโครงการวิจัยด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (๔) มีความรับผิดชอบ และมีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (๕) มีทักษะในการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อการสื่อสารและการ วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร ๑.๑ ระบบ ใช้ระบบการจัดการศึกษาแบบหน่วยกิตระบบทวิภาค ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มี ๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร ผศ.ดร.เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์ (ประธานหลักสูตร)
อ.ดร.ภัทรจิต จุมพล กอซโซลี (เลขานุการหลักสูตร)
นางรุ่งอรุณ สิงคลีประภา (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร)
|
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์สุขภาพ (นานาชาติ) |
ชื่อปริญญา | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาสังคมศาสตร์สุขภาพ |
ประธานหลักสูตร | Asst. Prof. Dr. Mark Stephan Felix (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภาควิชาสังคมและสุขภาพ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Health Social Sciences (International Program) ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์สุขภาพ) ชื่อย่อ : ศศ.ม. (สังคมศาสตร์สุขภาพ) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Arts (Health Social Sciences) ชื่อย่อ : M.A. (Health Social Sciences) ๓. วิชาเอก : ไม่มี ๔. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๕. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ๑. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑.๑ ปรัชญา ความสำคัญของหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) กำหนดขึ้นเพื่อทำหน้าที่ส่งเสริมและผลักดันการประยุกต์สังคมศาสตร์ในฐานะของสหสาขาวิชา ในการตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพและการบริการสาธารณสุข ที่เนื่องมาจากภาวะของโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงทั้งที่เป็นปัญหาในระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยที่พันธกิจประการหนึ่งของหลักสูตร คือ การทำหน้าที่ผลิตนักวิชาการและนักวิจัยที่มีคุณภาพสูงที่จะสามารถมีบทบาทอย่างสำคัญในการประยุกต์องค์ความรู้สังคมศาสตร์โดยบูรณาการ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และกลุ่มประเทศ อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ๑.๒ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการและโครงสร้างของหลักสูตร ๑. ระบบการจัดการศึกษา ๑.๑ ระบบ ใช้ระบบการจัดการศึกษาแบบหน่วยกิตระบบทวิภาค ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน -ไม่มี- ๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค -ไม่มี- ๒. การดำเนินการหลักสูตร ๒.๑ วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนในวัน-เวลาราชการ ๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ๒.๒.๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาสังคมศาสตร์หรือสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ พยาบาลศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต และสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง ๒.๒.๒ ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ หรือ ๗๕% ๒.๒.๓ มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๒.๒.๔ ผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการวิจัย การสอน หรือการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข เรื่องการพัฒนาทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขในภูมิภาคอย่างจริงจัง จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ ๒.๒.๕ ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ๓. โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร Asst. Prof. Dr. Mark Stephan Felix(ประธานหลักสูตร)
ผศ.ดร.ธรรมรัตน์ มะโรหบุตร(เลขานุการหลักสูตร)
นางสาวศิริอร กลางสำโรง (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร)
|
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (ภาคปกติ) |
ชื่อปริญญา | ศศ.ม. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) |
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.ณัฐณีย์ มีมนต์ (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
(หลักสูตรภาคปกติ และภาคพิเศษ) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภาควิชาสังคมและสุขภาพ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ภาษาอังกฤษ: Master of Arts Program in Medical and Public Health SocialSciences ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) ชื่อย่อ : ศศ.ม. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Arts (Medical and Public Health Social Sciences) ชื่อย่อ : M.A. (Medical and Public Health Social Sciences) ๓. วิชาเอก : ไม่มี ๔. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๕. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ๕.๑ นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๒ นักวิจัยด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๓ ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรของรัฐและเอกชนด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๕.๔ นักประเมินผลด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ๖. จุดเด่นของหลักสูตร เป็นหลักสูตรสหวิทยาการที่นำองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์เน้นหนักทางด้านสังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ นโยบาย และกฎหมาย เป็นต้น มาประยุกต์ใช้อธิบายสาเหตุและป้องกันสภาวะการเจ็บป่วย การบำรุงรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ และระบบสุขภาพ เป็นหลักสูตรทีมีความร่วมมือและมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติที่จะเสริมสร้างประสบการณ์และความรู้ให้กับนักศึกษา เพื่อให้มีคุณสมบัติระดับเดียวกับผู้ที่จบจากต่างประเทศ ทั้งมีโครงการพานักศึกษาไปดูงานภายในและต่างประเทศทุกปี และมีโครงการสนับสนุนนักศึกษาไปศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือและนำเสนอผลงานวิจัยในต่างประเทศ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ๑. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑.๑ ปรัชญา ความสำคัญ ของหลักสูตร มุ่งผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ทางทฤษฎี และการวิจัย ทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้มหาบัณฑิตมีทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในการทำงานด้านสุขภาพอย่างบูรณาการ สร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ ๑.๒ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนมหาบัณฑิตตามหลักสูตรแล้ว มหาบัณฑิตมีความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรม ดังนี้ (๑) ประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณที่ดีทางวิชาการและวิชาชีพด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (๒) มีความรู้ในหลักวิชาการทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข แสวงหาวิธีการพัฒนาด้านสุขภาพได้อย่างเหมาะสม (๓) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินปัญหาสุขภาพที่เกิดจากสถานการณ์การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน และสามารถดำเนินโครงการวิจัยด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (๔) มีความรับผิดชอบ และมีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (๕) มีทักษะในการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อการสื่อสารและการ วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร ๑.๑ ระบบ ใช้ระบบการจัดการศึกษาแบบหน่วยกิตระบบทวิภาค ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มี ๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี ชื่อประธานและเลขาหลักสูตรผศ.ดร.ณัฐณีย์ มีมนต์ (ประธานหลักสูตร)อ.ดร.จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน (เลขานุการหลักสูตร)นางรุ่งอรุณ สิงคลีประภา (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร) |
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ภาควิชามนุษยศาสตร์
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนากับการพัฒนา (ภาคปกติ) | |||||
ชื่อปริญญา | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศาสนากับการพัฒนา) | |||||
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.อำนาจ ยอดทอง (ประธานหลักสูตร) | |||||
รายละเอียด |
|
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาองค์การ (ภาคพิเศษ) | |||||
ชื่อปริญญา | ศศ.บ (จริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาองค์การ) | |||||
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา (ประธานหลักสูตร) | |||||
รายละเอียด |
|
|||||
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ภาควิชาศึกษาศาสตร์
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการกีฬา (ภาคปกติ) |
ชื่อปริญญา | – |
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.พราม อินพรม (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร
ผศ.ดร.พราม อินพรม ประธานหลักสูตร ผศ.ดร.เสาวลี แก้วช่วย เลขานุการหลักสูตร นางสาววิจิตรา เชาวนะสุนทร (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร)
|
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการกีฬา (ภาคพิเศษ) |
ชื่อปริญญา | – |
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.เสาวลี แก้วช่วย (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร
ผศ.ดร.เสาวลี แก้วช่วย ประธานหลักสูตร ผศ.ดร.พราม อินพรม เลขานุการหลักสูตร นางสาววิจิตรา เชาวนะสุนทร (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร)
|
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา (นานาชาติ) |
ชื่อปริญญา | M.Ed.(Educational Management) |
ประธานหลักสูตร | รศ.ดร.พสชนัน นิรมิตไชยนนท์ (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร
รศ.ดร.พสชนัน นิรมิตไชยนนท์ (ประธานหลักสูตร)
รศ.ดร.อริศรา เล็กสรรเสริญ (เลขานุการหลักสูตร)
นางธนวัน ธงวรรณฉัตร (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร)
|
ภาควิชาสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อปริญญา | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.สุภาภรณ์ สงค์ประชา (ประธานหลักสูตร) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รายละเอียด |
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม (พิเศษ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อปริญญา | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประธานหลักสูตร | ผศ.ดร.วนิพพล มหาอาชา (ประธานหลักสูตร) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รายละเอียด |
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเวชสารสนเทศ (หลักสูตรภาคพิเศษ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อปริญญา | การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการเวชสารสนเทศ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประธานหลักสูตร | รศ.ดร.แสงเทียน อยู่เถา (ประธานหลักสูตร) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รายละเอียด |
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (ภาคปกติและพิเศษ) |
ชื่อปริญญา | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) |
ประธานหลักสูตร | รศ.ดร.ชาญคณิต กฤตยา สุริยะมณี (ประธานหลักสูตร) |
รายละเอียด |
วิชาเอก
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ปรัชญา ความสำคัญของหลักสูตร เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณธรรมมีความรู้ทางวิชาการ วิจัย และวิเคราะห์องค์ความรู้ให้ครอบคลุมศาสตร์ด้านอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ซึ่งทำให้มหาบัณฑิตพร้อมรับและก้าวนำการเปลี่ยนแปลงขององค์กรและสังคม มีทักษะในการเรียนรู้ และสามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมในการพัฒนาองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเป็นรูปธรรม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีความรู้ ความสามารถ ดังนี้
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
(ดูข้อมูลหลักสูตรเพิ่มเติมคลิก)
ชื่อประธานและเลขาหลักสูตร รศ.ดร.ชาญคณิต กฤตยา สุริยะมณี (ประธานหลักสูตร) อ.ดร.ศุภกร ปุญญฤทธิ์(เลขาหลักสูตร)
น.ส.ภานุการณ์ สนใจ (ผู้ช่วย/เจ้าหน้าที่หลักสูตร) |
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบหลักสูตร |
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (ภาคปกติ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อปริญญา | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประธานหลักสูตร | รศ.ดร.กมลพร สอนศรี (ประธานหลักสูตร) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รายละเอียด |
|
ชื่อหลักสูตร | หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (ภาคพิเศษ) | |||||||
ชื่อปริญญา | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) | |||||||
ประธานหลักสูตร | รศ.ดร.กมลพร สอนศรี (ประธานหลักสูตร) | |||||||
รายละเอียด |
|