Perspective Students | Current Students | Staff | Alumni | Partners
 

CCGA Board

CCGA Overview

CCGA is established with the aim to foster academic work and collaborations related to China and globalizing Asia. It is housed within the Office of Academic Integration for Society, the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University.

 

As China has rapidly developed, and has played increasingly important roles in Asia and globally, the Center serves as a focal point for building knowledge and facilitating cooperation among experts in a broad range of substantive areas covering social, cultural, economic, sustainable development issues in connection to China, ASEAN, Asia and globalization

 

The Center’s activities include teaching, training, seminar/symposium, research, case studies, academic collaborations and exchanges. CCGA is established with the aim to foster academic work and collaborations related to China and globalizing Asia. It is housed within the Office of Academic Integration for Society, the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University.

 

 

 

CCGA Activity

中国与亚洲全球化研究中心(CCGA)概述

中国与亚洲全球化研究中心 (CCGA)的成立旨在促进与中国和亚洲全球化相关的学术工作和合作。本中心隶属于玛希隆大学社会科学与人文学院学术整合办公室。

随着中国的快速发展,以及在亚洲和全球扮演日益重要的角色,该中心作为建立知识和促进合作的焦点,涵盖了社会、文化、经济、可持续发展等广泛领域的专家之间的合作。这些领域涉及中国、东盟、亚洲和全球化等议题

本中心的活动包括教学、培训、研讨会/座谈会、研究、案例研究、学术合作和交流

 

เกี่ยวกับ ศูนย์จีนและโลกาภิวัตน์เอเชียศึกษา

 

ศูนย์จีนและโลกาภิวัตน์เอเชียศึกษา สังกัด สำนักงานบูรณาการวิชาการเพื่อสังคม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการเกี่ยวกับจีนศึกษาและโลกาภิวัตน์เอเชียศึกษา จากการที่ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียและโลก ศูนย์จีนฯ มีพันธกิจในการสร้างองค์ความรู้และประสานความร่วมมือระหว่างนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญในด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ รวมถึงประเด็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่เกี่ยวข้องกับประเทศจีน อาเซียน เอเชีย และโลกาภิวัตน์กิจกรรมของศูนย์จีนฯ ได้แก่ การเรียนการสอน การอบรม การประชุม เสวนาวิชาการ การวิจัย กรณีศึกษา ตลอดจนการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการ